วันอาทิตย์ที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2555

สังเกตการสวอน วิดีโอ.wmv



วิดีโอสังเกต การสอน โรงเรียนวัดเวฬุราชิน
โดย น.ส.คณาภรณ์  จริศักดิ์   5281123058




วิสัยทัศน์ของโรงเรียน ภายในปี 2554 โรงเรียนวัดเวฬุราชิณจัดการศึกษาได้มาตราฐานก้าวทันเทคโนโลยีนักเรียนมีคุณภาพอยู่ในสังคม อย่างมีความสุขโดยประสานชุมชนและใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เหมาะสมโดยยึดหลัก วินัยนำ คุณธรรมเด่น เน้นวิชาการ ประสานชุมชน

ประวัติ
ประวัติโรงเรียนวัดเวฬุราชิณ โรงเรียนวัดเวฬุราชิณ สำนักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานครตั้งอยู่ในที่ดินของวัด
เวฬุราชิณ เนื้อที่ 1 ไร่ 55 ตารางวา (1820 ตารางเมตร)
ที่ตั้ง 154/1 ถนนเทอดไท แขวงบางยี่เรือ เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร 10600
โทร.02 - 4660584
แผนที่การเดินทาง
แผนที่เดินทาง
ความเป็นมา

ปิดทำการสอนครั้งแรกเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2474 ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-4
โดยใช้ศาลาการเปรียญของวัดเวฬุราชิณ เดิมเป็นโรงเรียนประชาบาล
สังกัดกรมสามัญศึกษา ชื่อโรงเรียน ประชาบาล วัดใหม่ท้องคุ้ง ต่อมามีผู้สร้าง
อาคารเรียนให้ และโอนมาสังกัดเทศบาลนครธนบุรี เมื่อ พ.ศ.2480 มีชื่อว่า
โรงเรียนเทศบาล 11(ภารกิจวิทยา) และได้มีการโอนกลับไปกลับมา
ระหว่างกรมสามัญศึกษากับเทศบาลนครธนบุรี จนปี พ.ศ.2491จึงได้โอนขาดมา
ขึ้นกับเทศบาลนครธนบุรี และได้ชื่อใหม่ว่าโรงเรียนวัดเวฬุราชิณ และต่อมา
เทศบาลนครกรุงเทพมหานคร และเทศบาลนครธนบุรีได้ยุบรวมกันเป็นเทศบาล
กรุงเทพ-ธนบุรี และเปลี่ยนเป็นเทศบาลนครหลวง จนปี พ.ศ. 2515 เปลี่ยนเป็น
กรุงเทพมหานคร จึงได้ตัดชื่อ "เทศบาล" ออกเหลือชื่อ โรงเรียน วัดเวฬุราชิณ
สังกัดสำนักงานเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันเปิดทำการสอนตั้งแต่ชั้น
อนุบาลถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ประวัติสิ่งปลูกสร้างในอดีีต
9 พฤษภาคม 2476
ใช้ศาลาการเปรียญของวัดใหม่ท้องคุ้ง (เวฬุราชิณ)
20 พฤศจิกายน 2479
มีผู้มีจิตศรัทธาสร้างอาคารไม้ 2 ชั้น 4 ห้องเรียน ชื่ออาคารภารกิจวิทยา ต่อมาถูกรื้อสร้าง
อาคาร 1 เมื่อ พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2508 เทศบาลนครธนบุรี สร้างอารไม้ชั้นเดียว ขนาด 8 X 29 ม. มี 6 ห้องเรียน ต่อมาถูกรื้อ สร้าง
อาคาร 2 เมื่อ พ.ศ. 2515
พ.ศ. 2509 เทศบาลนครธนบุรี ได้สร้างอาคารแบบ 004 อาคารไม้ 2 ชั้น ขนาด 6X 33 ม. ม 8 ห้องเรียน ต่อมาถูกรื้อ สร้างอาคาร 3 เมื่อ พ.ศ. 2533
ประวัติสิ่งปลูกสร้างในปัจจุบัน

พ.ศ. 2515 สร้างตึก 3 ชั้น 12ห้องเรียน แทนอาคารไม้ชั้นเดียว คืออาคาร 2 ในปัจจุบัน
พ.ศ. 2518 สร้างตึก 3 ชั้น 6 ห้องเรียน แทนอาคารภารกิจวิทยา คืออาคาร 1 ในปัจจุบัน
พ.ศ. 2520 สร้างรั้วอิฐบล๊อครอบริเวณโรงเรียน
พ.ศ. 2525 สร้างที่ดื่มน้ำนักเรียน 2 จุด จำนวน 12 ก๊อก ด้านข้างอาคาร 2 และอาคาร 3
พ.ศ. 2532 สร้างอาคารเอนกประสงค์ แบบ ศอ. 142 เป็นตึก 2 ชั้น ปัจจุบันชั้นล่างเป็นห้องเรียนปฐมวัย 2 และ
ห้องห้องนาฏศิลป ชั้นบนจัดเป็นห้องประชุม และห้องพัสดุ
พ.ศ. 2532 สร้างอาคารเอนกประสงค์ แบบ ศอ.231 เป็นตึก 3 ชั้น หลังอาคาร 1 ปัจจุบันชั้นล่างใช้เป็นโรงครัว ห้องพัสดุ และเป็นบ้านพักภารโรง ชั้น 2-3 เป็นที่รับประทานอาหารของนักเรียน ใช้งบประมาณราคา
3,157,000 บาท (ราคารวมอาคารเอนกประสงค์ 2 ด้วย)
พ.ศ. 2536 สร้างอาคารเรียนแบบ สนศ.265 แทนที่อาคาร 004 ตึก 4 ชั้น 12 ห้องเรียน ชั้นล่างเป็นใต้ถุนโล่ง ใช
เป็นห้องประชุม คืออาคาร 3 ในปัจจุบัน ใช้งบประมาณราคา 7,040,000 บาท
พ.ศ. 2543 สร้างส้วมนักเรียน และบ้านพักภารโรง หลังอาคารเอนกประสงค์ ชั้นบนเป็นบ้านพักภารโรง 2 ห้องชั้น
ล่างจัดเป็นส้วมนักเรียน ชาย - หญิง 10 ห้อง พร้อมที่ปัสสาวะ ใช้งบประมาณราคา 789,271 บาท
พ.ศ. 2549 ติดตั้งประตูสแตนเลสบานเลื่อน ขนาด 4.20 ม. X 1.75 ม.+ 45 ม. พร้อใลโก้โรงเรียน เป็นอัลลอยด์
2 หน้า คณะครูบริจาคเป็นเงิน 65,000 บาท
รายชื่อผู้บริหารในอดีต

ลำดับที่
ปี พ.ศ.
ชื่อผู้บริหารโรงเรียน
ตำแหน่ง
1
2476 - 2478 begin_of_the_skype_highlighting 2476 - 2478 end_of_the_skype_highlighting
นายพิมพ์ คงชนะ
ครูใหญ่
2
2478 - 2483 begin_of_the_skype_highlighting 2478 - 2483 end_of_the_skype_highlighting
นายผลัด ลำใย
ครูใหญ่
3
2483 - 2485 begin_of_the_skype_highlighting 2483 - 2485 end_of_the_skype_highlighting
นายจรูญ ภมรผล
ครูใหญ่
4
2485 - 2486 begin_of_the_skype_highlighting 2485 - 2486 end_of_the_skype_highlighting
นายมาลี อิงคะะวณิชย์
ครูใหญ่
5
2486 - 2493 begin_of_the_skype_highlighting 2486 - 2493 end_of_the_skype_highlighting
นายสิน ศรี บุญแสน
ครูใหญ่
6
2493 - 2494 begin_of_the_skype_highlighting 2493 - 2494 end_of_the_skype_highlighting
นายนิพนธ์ สุดลาภา
ครูใหญ่
7
2494 - 2496 begin_of_the_skype_highlighting 2494 - 2496 end_of_the_skype_highlighting
นายธนิต ขุนวิเศษ
ครูใหญ่
8
2496 - 2503 begin_of_the_skype_highlighting 2496 - 2503 end_of_the_skype_highlighting
นายฉ่ำ ปานวีระ
ครูใหญ่
9
2503 - 2505 begin_of_the_skype_highlighting 2503 - 2505 end_of_the_skype_highlighting
นายสุพจน ์ ล.วีระวงค์
ครูใหญ่
10
2505 - 2512 begin_of_the_skype_highlighting 2505 - 2512 end_of_the_skype_highlighting
นายชลอ พูลดี
ครูใหญ่
11
2512 - 2539 begin_of_the_skype_highlighting 2512 - 2539 end_of_the_skype_highlighting
นายทิพย์วัลย์ ประทีปผล
อาจารย์ใหญ๋
12
2529 - 2535 begin_of_the_skype_highlighting 2529 - 2535 end_of_the_skype_highlighting
นางจีรวัณณ์ นิโรจน์
ผู้อำนวยการ
13
2535 - 2537 begin_of_the_skype_highlighting 2535 - 2537 end_of_the_skype_highlighting
นายวิชิณ สุกปลั่ง
ผู้อำนวยการ
14
2537 - 2543 begin_of_the_skype_highlighting 2537 - 2543 end_of_the_skype_highlighting
นางสุภาณี ศิริจำรัส
ผู้อำนวยการ
15
2543 - 2544 begin_of_the_skype_highlighting 2543 - 2544 end_of_the_skype_highlighting
นางสมรวดี อินทะกนก
ผู้อำนวยการ
16
2544 - 2547 begin_of_the_skype_highlighting 2544 - 2547 end_of_the_skype_highlighting
น.ส.นลินี ภาติกะวัยวัฒน์
ผู้อำนวยการ
17
2547 - 2550 begin_of_the_skype_highlighting 2547 - 2550 end_of_the_skype_highlighting
นายวิจิตร สุขช่วย
ผู้อำนวยการ
18
2550-ปัจจุบัน
นายจรูญ รอดเจริญ
ผู้อำนวยการ
ชำนาญการพิเศ
อักษรย่อ
ก.ธร.วฬ
ปรัชญาของโรงเรียน "การศึกษาช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต"


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น